วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2555

กรดเกลือ


กรดเกลือ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรดไฮโดรคลอริก
Molecular model of hydrogen chloride
ชื่อตาม IUPACHydrochloric acid
ชื่ออื่นMuriatic acid, Spirit (s) of Salt, Chlorane
ตัวระบุ
เลขทะเบียน CAS[7647-01-0][CAS]
EC number231-595-7
RTECS numberMW4025000
ChemSpider ID307
คุณสมบัติ
สูตรเคมีHCl in water (H2O)
มวลต่อหนึ่งโมล36.46 g/mol (HCl)
ลักษณะทางกายภาพClear colorless to
light-yellow liquid
ความหนาแน่น1.18g/cm3
จุดหลอมเหลว
−27.32 °C (247 K)
38% solution.
จุดเดือด
110 °C (383 K) ,
20.2% solution;
48 °C (321 K) ,
38% solution.
ความสามารถละลายได้ใน น้ำMiscible.
pKa−8.0
Viscosity1.9 mPa·s at 25 °C,
31.5% solution
ความอันตราย
MSDSExternal MSDS
EU classificationCorrosive (C)
EU Index017-002-01-X
NFPA 704
NFPA 704.svg
0
3
1
COR
R-phrasesR34R37
S-phrases(S1/2)S26S45
จุดวาบไฟNon-flammable.
สารอื่นที่เกี่ยวข้อง
แอนไอออนที่เกี่ยวข้องF-Br-I-
acidsที่เกี่ยวข้องHydrobromic acid
Hydrofluoric acid
Hydroiodic acid
Sulfuric acid
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
แหล่งอ้างอิงของกล่องข้อมูล
กรดไฮโดรคลอริก หรือ กรดเกลือ (อังกฤษhydrochloric acid) เป็นสารประกอบเคมีประเภทกรดละลายในน้ำ โดยเป็นสารละลายของไฮโดรเจนคลอไรด์(HCl) เป็นกรดแก่, เป็นส่วนประกอบหลักของกรดกระเพาะ (gastric acid) และใช้กันอย่างกว้างในอุตสาหกรรมเป็นของเหลวที่มีพลังการกัดกร่อนสูง
กรดไฮโดรคลอริก หรือ มูเรียติกแอซิด ถูกค้นพบโดย "จาเบียร์ เฮย์ยัน" (Jabir ibn Hayyan) ราวปี ค.ศ. 800 ช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) ถูกใช้อย่างกว้างขวางในการผลิตสารประกอบอินทรีย์ เช่น วีนิลคลอไรด์ สำหรับผลิต PVC พลาสติก และ MDI/TDI (Toluene Diisocyanate) สำหรับผลิต พอลิยูลิเทน, (polyurethane) และใช้ในการผลิตขนาดเล็กเช่น การผลิต เจนลาติน (gelatin) ใช้ปรุงอาหาร, และ ใช้ฟอกหนัง กำลังผลิตในปัจจุบันประมาณ 20 ล้านเมตริกตัน ต่อปี (20 Mt/a) ของก๊าซ HCl

เนื้อหา

  [ซ่อน

[แก้]การผลิต

ใน การผลิต กรดไฮโดรคลอริกปริมาณมากๆ จะเกี่ยวข้องกับการผลิตสารประกอบเคมีตัวอื่นๆในเชิงอุตสาหกรรมด้วยในอุตสาหกรรม คลอร์-อัลคะไลสารละลายเกลือจะถูกอิเล็กโตรไลซ์ จนได้ผลผลิตออกมาเป็นคลอรีนโซเดียมไฮดรอกไซด์, และก๊าซไฮโดรเจน คลอรีนบริสุทธิ์ จะมาผสมกับก๊าซไฮโดรเจนแล้วเกิดเป็นก็าซ HCl บริสุทธิ์ และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ เอ็กโซเทอร์มิก, ระบบติดตั้งนี้เรียกว่า ไฮโดรเจนคลอไรด์ โอเวน
Cl2 + H2 → 2HCl
ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์บริสุทธิ์ถูกดูด (absorption) ลงน้ำ ดีมิเนอไลซ์ได้เป็นกรดเกลือบริสุทธิ์ต่อไป

[แก้]สารประกอบเคมีที่เกี่ยวข้อง

[แก้]อ้างอิง

  • Chemicals Economics Handbook, Hydrochloric Acid, SRI International, 2001, p. 733.4000A-733.3003F
  • Van Dorst, W.C.A., et al., technical product brochure Hydrochloric Acid, Akzo Nobel Base Chemicals, 2004 (public document)
  • Van Dorst, W.C.A., various technical papers, Akzo Nobel Base Chemicals, 1996-2002 (not for open publication)
  • Lide, David, NIST, CRC Handbook of Chemistry and Physics, CRC Press, 61st edition, 1980-1981
  • Aspen Technology, Aspen Properties, binary mixtures modelling software, calculations by Akzo Nobel Engineering, 2002-2003
  • Evison D, Hinsley D, Rice P. Chemical weapons. BMJ 2002;324 (7333) :332-5. PMID 11834561
  • Arthur C., M.D. Guyton, John E. Hall, Textbook of Medical Physiology, W.B. Saunders Company; 10th edition (August 15, 2000) , ISBN 072168677X

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น